CCR1009-7G-1C-PC ซึ่งตัวนี้ก็เป็นหนึ่งใน Router เรือธงที่ทาง Mikroitk ภูมิใจนำเสนอ Mikrotik บอกว่าใช้เวลาในการวิจัยพัฒนานานกว่า 3 ปี ถ้าหากมอง Spec แบบผิวเผินมันจะมีความต่างที่พิ่มเข้ามาก็ตรงคำว่า PC นี่แหละ
CCR1016-12G Cloud Core Router จัดว่าเป็นหนึ่งใน Router รุ่นใหญ่ของ Mikrotik ที่เป็นรองเพียง CCR1036 และ CCR1072 เหมาะสำหรับหน่วยงานขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ รองรับ Throughput หรือปริมาณในการรับส่งข้อมูลอยู่ที่ 12Gbit/ วินาที
สำหรับ Mikrotik CCR1036-8G-2S+EM รุ่นนี้ ก็ถือว่าเป็นรุ่นใหญ่อีกรุ่นของ Mikrotik Router นะคะ มันเป็น Router สำเร็จพร้อม Case ที่มีขนาด 1 U ,มี Port เชื่อมต่อชนิด Gigabit Ethernet RJ45 จำนวน 8 Port ที่มาพร้อมกับตัวเครื่อง พร้อมกันนั้นมันก็ยังมี Port SFP สำหรับใช้เชื่อมต่อกับ Fiber Optic ที่รองรับความเร็วได้ถึง 10 G มาให้ด้วยจ้า
Mikrotik CCR1036-12G-4S 1U มีขนาด Body ที่พอดีสำหรับ Rack ขนาด 1 U มี Port เชื่อมต่อชนิด RJ45 ความเร็วแบบ Gigabit 10/100/1000 จำนวน 12 Port มีหน้าจอ LCD แสดงผลอยู่ที่บนตัวเครื่อง เพื่อให้คุณใช้มอนิเตอร์ TRAFFIC ในเบื่องต้นได้ โดยที่ไม่ต้องเชื่อม Computer เข้าไปนั่นเอง
Mikrotik CCR1072-1G-8S+ รุ่นนี้มีขนาด 1 U และ มี Port สำหรับเชื่อมต่อจะเป็นชนิด SFP จำนวน 8 Port และ 1 Gigabit Ethernet Port 10/100/1000
RB1100AHx4 Dude Edition มันเป็น Router ที่เหมาะสำหรับงานใช้ทำ VPN แบบ IP Sec และสามารถรับส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สามารถรองรับทรูพุทได้ถึง 2.2Gbps แม้นว่าจะมีการเข้ารหัสแบบ AES128 ก็ตามที
Mikrotik RB1100AH X4 ถูกออกแบบมาด้วยสถาปัตยกรรม CPU 15 Core Annapurna Alpine AL21400 with four Cortex มีความเร็วในการประมวลผลของ CPU ที่ 1.4 Ghz
RB450Gx4 -SET มันคือ Multi Function Router ที่ขับเคลื่อนด้วย RouterOS License Level 5 ซึ่งค่อนข้ามครอบคลุม ทุกฟังชั่นการใช้งานที่จำเป็นสำหรับงานระบบ
Mikrotik RB4011iGS+RM เป็น Router ชนิดเคสเหล็กที่แลดูเป็นมืออาชีพ...มันมาพร้อมกับ 10 Gigabit Ethernet Port ใช้ CPU ประมวลผลแบบ Quad-core รุ่น AL21400 ( 4 Core ) ออกแบบภายใต้สถาปัตยกรรม ARM 32bit มีความถี่ของ CPU ประมวลผลอยู่ที่ 1.4Ghz